บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2018

HIV และไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
HIV และไวรัสตับอักเสบซี มีความเกี่ยวเนื่องกันอยู่นะคะ เพราะการติดต่อค่อนข้างคล้ายกัน ในบางกลุ่ม เช่น กลุ่มชายรักชาย เพศที่สาม กลุ่มนัดทางออนไลน์หรือกลุ่มที่ใช้เข็มฉีดสารเสพติดร่วมกัน จะติดทั้งเชื้อ HIV โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และไวรัสตับอักเสบซี เมื่อเกิดสภาวะนี้แล้ว ผู้ติดเชื้อจะสามารถส่งต่อไวรัสเหล่านี้ได้ ในอัตราที่สูงกว่าปกติ มากกว่าผู้ที่ติดเชื้อใดเชื้อหนึ่งเพียงอย่างเดียว และการดำเนินของโรคก็มีความรุนแรงมากยิ่งกว่าผู้ติดเชื้อทางอื่น ในรายที่เป็นผู้หญิงที่กำลังตั้งครรภ์สามารถส่งถ่ายเชื้อ HIV  และไวรัสตับอักเสบซีไปสูงลูกได้ถึง 20% และทางเพศสัมพันธ์ได้มากกว่าปกติ 3% ผู้ติดเชื้อ HIV ร่วมกับไวรัสตับอักเสบซี มีความเสี่ยงถึง 90% ที่จะเกิดอาการตับอักเสบเรื้อรัง เมื่อเทียบกับผู้ที่ติดเชื้อใดเชื้อหนึ่งเพียงอย่างเดียว และหากไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง จะมีการดำเนินต่อของโรคเป็นตับแข็งขึ้น 2-5 เท่า ตับวาย 16 เท่า และมะเร็งตับ 6 เท่า เลยนะคะ เพราะฉะนั้นผู้ติดเชื้อ HIV ร่วมกับไวรัสตับอักเสบซีด้วย จะต้องมีการดูแลจากแพทย์อย่างใกล้ชิด และเฝ้าคอยติดตาม ผลกา...

7 อาหารต้องห้ามของผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
ใครว่าการดูแลตัวเองเกี่ยวกับอาหารและโภชนาการที่บริโภคของผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีไม่สำคัญ เพราะคนที่เป็นโรคนี้ ไวรัสจะเข้าไปทำลายตับโดยตรง และตับนั้นก็ทำหน้าที่เหมือนตัวกรองอาหารที่เรารับประทานเข้าไป ดังนั้นผู้ป่วยจะต้องหลีกเลี่ยง อาหารที่ไม่ทำให้ตับของคุณเองต้องทำงานหนักขึ้นไปอีกนั่นเองค่ะ 1. อาหารที่มีไขมันสูง ของมัน ของทอดต่างๆ 2. อาหารที่ไม่ได้ถูกปรุงให้สุก หมูดิบ ปลาดิบ เนื้อดิบ 3. อาหารสำเร็จรูป อาหารกระป๋อง บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป 4. ชา กาแฟ น้ำอัดลม (คาเฟอีนมีส่วนให้ตับทำงานหนัก) 5. วิตามินรวม โดยเฉพาะวิตามินเอและบี 6. อาหารที่มีโซเดียมสูง อาหารหมักดอง 7. เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีหากสามารถลดหรืองดสิ่งเหล่านี้ได้ก็จะช่วยให้การรักษาหายได้เร็วมากขึ้น สามารถใช้ชีวิตได้อย่างมีความสุขค่ะ สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

รู้ได้อย่างไรว่าเป็นไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
เราจะรู้ได้อย่างไรว่า เราติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเข้าให้แล้ว? อย่างที่เคยบอกค่ะว่า ผู้ที่ติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบซี มักจะไม่ทราบว่าตัวเองกำลังป่วยด้วยไวรัสตับอักเสบซี เพราะจะมีอาการเพียงแค่เป็นไข้ เป็นหวัด ปวดเมื่อยตามตัวเหมือนการเป็นไข้ทั่วๆ ไป ซึ่งอาการเหล่านี้เอง ทำให้เราไม่สามารถบอกได้เลยว่าเรากำลังติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีอยู่หรือไม่ จนกระทั่งอาการเริ่มแสดงออกหนักขึ้น เช่น มีอาการตับอักเสบ ตัวเหลือง ตาเหลือง ตับจะทำงานหนักกว่าปกติเพื่อต่อต้านกับเชื้อไวรัสซี อาการเหล่านี้จะช่วยบ่งชี้ได้ว่าเรากำลังติดเชื้ออยู่นั่นเอง อย่างไรก็ตามอาการจะดีขึ้นภายใน 2-3 สัปดาห์ เมื่อร่างกายสร้างภูมิต้านทานเชื้อไวรัสตับอักเสบซีได้แล้ว และมักจะเป็นแล้วหายภายใน 6 เดือน หลังจากนั้นจะไม่กลับมาเป็นอีก แต่สำหรับผู้ที่ป่วยไวรัสตับอักเสบซีมากกว่า 6 เดือนขึ้นไป นั่นแปลว่าอาจจะกำลังเป็นโรค ไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง อยู่! เนื่องจากร่างกายไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันไวรัสนี้ได้ แต่ผู้ป่วยที่เป็นไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรังส่วนใหญ่จะได้รับเชื้อมาตั้งแต่เด็กๆ หรือนานมากๆ จนเป็นโรคเรื้อรัง เป็นๆ หายๆ มาจนกระทั...

ค่าใช้จ่ายในการตรวจไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี ทำด้วยการเจาะเลือดตรวจดู การทำงานของตับ เพื่อดูว่ามีการอักเสบของตับหรือไม่ และมากน้อยขนาดไหน นอกจากนี้ยังพอจะบอกว่าตับยังทำงานได้ดีขนาดไหนเพื่อเป็นข้อมูลให้แพทย์พิจารณาในการรักษาต่อไป การตรวจหาระดับ ภูมิคุ้มกันต่อไวรัสตับอักเสบซี หรือตรวจหาเชื้อในน้ำเหลือง หรือที่เรียกว่า "แอนติ เอช ซี วี (Anti-HCV)" โดยจะเสียค่าใช้จ่ายประมาณ 300-400 บาท (แล้วแต่สถานพยาบาลทั้งนี้ยังไม่รวมค่าบริการทางการแพทย์อื่นๆ) และรอผลประมาณ 3-7 วัน ในรายที่ผลเป็นบวก ควรตรวจยืนยันด้วยการตรวจไวรัสโดยตรง การตรวจอัลตราซาวนด์ในกรณีที่สงสัยว่าผู้ป่วยจะมีภาวะตับแข็ง หรือ มะเร็งตับ แล้วหรือยัง การเจาะเนื้อตับเพื่อช่วยยืนยันว่า ผู้ป่วยมีภาวะไวรัสตับอักเสบซี นอกจากนี้ยังช่วยบอกได้ว่ามีการอักเสบมากน้อยแค่ไหนได้ด้วยค่ะ Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบาล ของบ้านเ ราที่เรารู้จัก ยาทั้งสองตัวนี้ คือ HepCDac กับ HepCvir  ทานวันละเม็ด เหมือนกัน สามเดือน 'Hepcvir-L' ผลิต โดย Cipla HEPCVIR-L เป็น ชุด ยา FDC sofosbuvir  และ ของ ledipasvir ซึ่งเป็นยาต้านไวร...

ระยะฟักตัวเชื้อไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
ระยะฟักตัวของเชื้อ ไวรัสตับอักเสบซี นั้น อยู่ในระยะประมาณ 15-160 วัน หรือเฉลี่ย 2 เดือน ที่จะทำให้เกิดโรคตับอักเสบซีเฉียบพลันค่ะ ปัจจุบัน พบว่าเชื้อไวรัสตับอักเสบซีนี้ ทำให้เกิดโรคตับอักเสบเรื้อรัง และเสี่ยงต่อการเกิด มะเร็งตับ ได้ด้วย เช่นเดียวกับไวรัสตับอักเสบชนิดบีเลยค่ะ ในประเทศไทย พบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดซีเพิ่มขึ้น ประมาณ 2% ของคนที่มาบริจาคเลือด หลังจากเป็นตับอักเสบซีแล้ว ก็มีแนวโน้มจะเป็น ตับอักเสบเรื้อรัง โดย 20% ของผู้ป่วย ตับอักเสบเรื้อรังชนิดซี จะเป็น ตับแข็ง ภายใน 10-20 ปี บางส่วนกลายเป็นมะเร็งตับลุกลามจนเสียชีวิตในที่สุด ส่วนการให้นมบุตรจากแม่สู่ลูก การจามหรือไอ  การทานอาหารหรือน้ำ การใช้จานชามร่วมกัน ไม่ทำให้เกิดการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดซีค่ะ สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

ควรไปพบแพทย์เมื่อไหร่

รูปภาพ
จะรู้ได้อย่างไรว่าเมื่อไหร่ควรไปพบแพทย์ ? ให้สังเกตุสัญญาณอันตรายที่เตือนว่า ตับของคุณเริ่มมีปัญหาแล้ว คือ 1. อาการปวดจุก หรือแน่นชายโครงขวา ซึ่งเป็นที่อยู่ของตับ อาจเพราะมีการอักเสบของเนื้อตับ หรือ เกิดจากก้อนเนื้องอกภายในเนื้อตับ 2. ดีซ่าน คือ ภาวะที่มีการคั่งของเม็ดสีน้ำดี ซึ่งสร้างมาจากตับสะสมในเนื้อเยื่อต่างๆ ทำให้ผิวหนังและเยื่อตาขาวเปลี่ยน มีสีเหลือง ซึ่งน้ำดีที่มากเกินในร่างกาย ส่วนหนึ่งจะถูกขับออกทางไต ทำให้ปัสสาวะมีสีเหลืองเข้ม เป็นสัญญาณบ่งว่า สมรรถภาพการทำงานของตับเริ่มถดถอย 3. อ่อนเพลียเรื้อรัง หมดแรงง่าย อาจเกิดจากภาวะตับอักเสบเรื้อรัง ซึ่งควรได้รับการตรวจเลือดยืนยันและหาสาเหตุต่อไป โดยอาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดต่างๆ การดื่มสุรา จนทำให้เกิดโรคตับเรื้อรัง โรคอ้วนจนมีไขมันคั่งในเนื้อตับปริมาณมาก และการรับประทานยา อาหารเสริม หรือสมุนไพรบางชนิด ในผู้ป่วยบางรายอาจมีสารเหล่านี้ตกค้าง จนทำให้เกิดตับอักเสบ ผลิตพลังงาน และสารที่จำเป็นต่อร่างกายได้ลดลง 4. เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซึ่งอาจเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่า สมรรถภาพการทำงานของตับเริ่มเสื่อมลง ทำ...

ตับอักเสบเฉียบพลัน

รูปภาพ
ตับ ทำหน้าที่เสมือนเป็นโรงงานผลิตพลังงานและสารอาหารที่จำเป็นต่อร่างกาย รวมทั้งยังเป็นอวัยวะสำคัญในการเผาผลาญของเสียต่างๆ ที่เกิดขึ้นในร่างกายด้วย โดยทำการขับออกมาทางน้ำดีลงสู่ลำไส้ปนไปกับอุจจาระ และเมื่อมีสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกาย เช่น แบคทีเรีย ไวรัส ยาหรือสารต่างๆ ที่ร่างกายรับประทานแล้วเหลือตกค้าง สิ่งเหล่านี้อาจมีผลกระทบต่อการทำงานของตับ ทำให้เกิดโรคตับต่างๆ ได้ เช่น โรคตับอักเสบเฉียบพลัน ซึ่งมีการอักเสบบวมของเนื้อตับ ผู้ป่วยจะมีอาการปวดตับ จุกตึงใต้ชายโครงขวา ร่วมกับมีไข้ต่ำๆ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร และเกิดดีซ่านขึ้นได้ นอกจากนี้ ปวดตับ ยังอาจเกิดจากเนื้อตับบางส่วนที่มีการเจริญเติบโตผิดปกติกลายเป็นก้อนเนื้องอกดันผิวตับให้โป่งนูน ทำให้ผู้ป่วยมีอาการปวดจุกแน่นในบริเวณใต้ชายโครงขวาหรือลิ้นปี่ มักพบในผู้ป่วยที่มี โรคตับอักเสบเรื้อรัง แฝงอยู่โดยไม่มีสัญญาณเตือนใดๆ มาก่อน หรืออาจมีอาการเพียงเล็กน้อย ได้แก่ อ่อนเพลียและหมดแรงง่าย บางรายมีอาการเบื่ออาหาร น้ำหนักลด หรืออาเจียนเป็นเลือดสด ซึ่งเกิดจากเส้นเลือดขอดในหลอดอาหารหรือกระเพาะอาหาร อันเป็นผลจากภาวะตับแข็ง ที่มักพบร่วมด้วย...

ไขมันกับไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
ไขมัน จะไม่สามารถทำการย่อยสลายได้ถ้าไม่มีน้ำดี น้ำดีถูกผลิตโดยตับแล้ว เก็บไว้ที่ถุงน้ำดี ฉะนั้นการย่อยไขมันเกิดขึ้นที่ลำไส้เล็ก น้ำดีทำหน้าที่คล้ายๆ กับผงซักฟอกนั่นแหละค่ะ เพื่อที่จะย่อยสลายโมเลกุลของไขมันให้เล็กลง ให้สามารถดูดซึมออกไปใช้ได้ เพราะโมเลกุลของไขมันใหญ่เกินไป น้ำดีจึงมีความสำคัญต่อการดูดซึมวิตามิน โดยเฉพาะวิตามิน A D E K ที่ละลายในไขมัน โรคตับอักเสบ เกิดจากเชื้อไวรัสหลายชนิด เชื้อไวรัสจะทำให้เกิดตับอักเสบเฉียบพลันและทำลายเซลล์ตับ ในรายที่อาการไม่รุนแรงและได้รับการรักษาแต่เนิ่นๆ เซลล์ตับจะฟื้นตัวได้ แต่ถ้าอาการรุนแรงจะทำให้เซลล์ตับตาย เนื้อเซลล์ตับที่ดีเหลือน้อยลง ทำให้ตับเกิดโรคตับแข็งได้ ซึ่ง ไวรัสตับอักเสบซี ก็เป็นหนึ่งในตัวการหลักเลยนะคะ เพราะฉะนั้นหากเข้าข่ายว่าจะเป็นควรรีบไปตรวจเสียแต่เนิ่นๆ เพื่อรับการรักษาได้อย่างทันถ้วงทีค่ะ สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
สำหรับผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซี โภชนาการนับว่ามีความสำคัญมากๆ ต่อตับถึง 90% ของเลือดซึ่งไหลเวียนออกไป จากกระเพาะอาหารและลำไส้เลยนะคะ มีสารอาหารที่มีความสำคัญต่อตับ สารอาหารต่างๆ เหล่านี้ก็จะถูกแปรเปลี่ยนไปเป็นสารต่างๆ ที่ร่างกายสามารถจะนำไปใช้ได้ ตับทำหน้าที่หลายอย่างที่เป็นหน้าที่อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะที่มีความสำคัญมาก โดยเฉพาะการเผาผลาญอาหาร ตับมีหน้าที่สร้างคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน และเกลือแร่ต่างๆ ให้สามารถนำไปใช้ทำให้ร่างกาย มีสภาวะปกติดำเนินชีวิตได้อย่างไม่เจ็บป่วยค่ะ คาร์โบไฮเดรต หรือน้ำตาล จะถูกเก็บเป็นไกลโคเจนอยู่ใ นตับ แล้วปล่อยเป็นพลังงานในระหว ่างมื้ออาหาร เมื่อร่างกายมีความต้องการพ ลังงานมาก ตับจะช่วยในการกำหนดระดับน้ ำตาลในเลือด เพื่อที่จะป้องกันสภาพที่เร ียกว่า "ไฮโปรไกลซีเมีย HYPOGLYCEMIA" หรือที่เรียกว่าสภาวะน้ำตาล ต่ำ ทำให้เราสามารถที่จะรักษาระ ดับของพลังงานได้สม่ำเสมอ เมื่อผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสต ับอักเสบซี จะมีโอกาสขาดความสมดุลที่เก ิดจากตับนี้ เราคงจำเป็นจะต้องทานอาหารต ลอดเวลา เพื่อให้พอกับพลังงานที่เรา ใช้ไปค่ะ

คุณจะมีโอกาสเป็นโรคตับแข็งหรือไม่

รูปภาพ
หากคุณอยากจะรู้ว่า คุณจะมีโอกาสเป็นโรคตับแข็ง หรือไม่ ก็ทำได้เพียงการตรวจเท่านั้ นว่า มีความเสี่ยงที่จะเป็นตับแข ็งหรือไม่อย่างไร เช่น ไขมันพอกตับหรือไม่ เป็นไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซีหรือไม่ ดื่มเหล้าประจำหรือไม่ ส่วนใหญ่ผู้ป่วยระยะแรกๆ จะไม่มีอาการใดๆ ให้เอะใจหรือสงสัย จึงไม่เคยฉุดคิดว่าต้องไปตร วจ ส่วนใหญ่จะตรวจพบ หรือทราบได้จากการตรวจสุขภา พประจำปี ตรวจสุขภาพของบริษัทที่ทำงา นอยู่ เช่น  มีค่าตับผิดปกติ ตรวจพบว่า มีไวรัสตับอักเสบบี มีไวรัสตับอักเสบซี หรือ มีไขมันพอกตับ ซึ่งคนไข้ในกลุ่มนี้ ก็จะมีการพัฒนาเป็นตับแข็งไ ด้ในอนาคตอย่างแน่นอน หากไม่ทำการรักษาแต่เนิ่นๆ แต่ถ้าเกิดเรามีความเสี่ยงใ นโรคกลุ่มนี้ ก็อาจต้องมาคอยตรวจเช็คตับ เป็นระยะ รวมถึงการอัลตร้าซาวด์ตับเป ็นระยะๆ จะช่วยเฝ้าระวังการเกิดมะเร ็งตับได้ การวินิจฉัยไวรัสตับอักเสบซ ี ➡️  วินิจฉัยตรวจคัดกรองเบื้องต ้น โดยการเจาะเลือดตรวจการทำงา นของตับและหาเชื้อไวรัส บางรายที่ตรวจไม่เจอในระยะแ รกอาจจะต้องตรวจซ้ำอีก 2 - 8 สัปดาห์ ➡️  ตรวจหา DNA ของเชื้อไวรัสตับอักเสบซี และตรวจหาสายพันธ์ุเพื่อการ รักษาต่อไป ...