บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2019

การตรวจไวรัสตับอักเสบซีแบบซีรั่ม Anti-HCV Antibody

รูปภาพ
การตรวจไวรัสตับอักเสบซีแบบซีรั่ม Anti-HCV Antibody  หากคุณมีความเสี่ยงที่จะติด เชื้อไวรัสตับอักเสบซี แล้วมีโอกาสได้ไปไปพบคุณหมอ เพื่อขอทำการตรวจหาเชื้อ ไวรัสตับอักเสบซี  เจ้าหน้าที่จะทำการตรวจขั้นต้นแบบซีรั่ม Anti-HCV Antibody ซึ่งเป็นการตรวจคัดกรองเบื้องต้น สำหรับผู้ที่สงสัยว่าตนเองมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี โดยเน้นย้ำถึง ข้อจำกัดของการตรวจ ด้วย Antibody คือ ในผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง หรือผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่อาจ ให้ผลลบปลอม อาจทำการส่งตรวจเพิ่มเติมด้วยการตรวจแบบ HCV-RNA ซึ่งผลเลือดจะถูกยึดเป็นหลักในการ วินิจฉัยโรคไวรัสตับอักเสบซี   การตรวจด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงคุณภาพ ที่มีรายงานเป็นบวกหรือลบ การตรวจนับ ปริมาณไวรัสตับอักเสบซี โดยกำหนดค่าจุดตัดที่ใช้ในการรายงานผลเป็นลบอยู่ที่ ≤15 IU/ml อย่างไรก็ตาม อาจพิจารณาใช้ชุดตรวจด้วยวิธีวิเคราะห์เชิงคุณภาพที่มีจุดตัดใน การรายงานผลลบที่ ≤1,000IU/ml ได้ในบางประเทศ ที่มีข้อจำกัดเรื่องงบประมาณทางสาธารณสุข การตรวจ แบบซีรั่ม Anti-HCV Antibody หากให้ผลบวกแต่ตรวจไม่พบ HCV-RNA แนะนำให้ตรวจซ้ำที่ 12 สัปดาห์ และ 24 สัปดาห์ต่อมา เ

ไวรัสตับอักเสบซี บ่อเหตุของมะเร็งตับ

รูปภาพ
ไวรัสตับอักเสบซี ถือเป็นปัจ จัยเสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร ็งตับชนิด HCC (Hepatocellular Carcinoma) ถึง 21% โดยโรคชนิดนี้ เซลล์ตับจะอยู่ในสภาวะที่ถู กทำลายจากเชื้อไวรัส ส่วนใหญ่ผู้ป่วยที่ตัดสินใจ ไปพบแพทย์ก็คือ เริ่มมีอาการ แสดงออกให้เห็นเด่นชัดแล้ว ได้แก่ อาการ ปวดท้องด้านบนขวา จุกแน่น ท้องอืด เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลดลงอย่างผิดปกติ  รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่ค่อยมีเรี่ยวแรง อาการตัวเหลือง ตาเหลือง หากลองจับคลำบริเวณต ับ จะสัมผัสได้ถึงก้อนแข็งๆ ในบางรายอาจถึงขั้นมีเลือดออก ห รือมี น้ำในช่องท้อง ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับความรุ นแรงของโรค บวกกับการวินิจฉั ยของแพทย์ที่ทำการรักษา หากรู้ตัวช้า รักษาอาการได้ไม่ทันการณ์ อา จเกิดอาการตับแข็งและตับวาย ในเวลาต่อมา จึงแนะนำเสมอให้ทุกๆ คนที่มีความเสี่ยงรีบตรวจหา ไวรัสตับอักเสบซี ก่อนเสียแต ่เนิ่นๆ เพื่อที่จะได้รู้ถึงอาการป่ วยของตนเอง และรักษาให้หายขา ดได้ในที่สุด การดูแลตัวเองสำหรับ ผู้ติดเ ชื้อไวรัสตับอักเสบซี ถือว่าเป็นสิ่งสำคัญที่มีผล  ต่อการดำเนินของโรค วันนี้จะมาแนะนำ วิธีปรับเปล ี่ยน พฤติกรรมให้ดีขึ้น และสามารถทำให้สุขภาพ ของผู้ ป่วยไวรัส

ไวรัสตับอักเสบซี โรคนี้หายขาดได้

รูปภาพ
ไวรัสตับอักเสบซี ที่ถูกค้นพ บในปัจจุบัน มี 6 สายพันธุ์หลักๆ ได้แก่ สายพันธุ์ที่ 1, 2, 3, 4, 5 และ 6 สายพันธุ์ที่พบมากทั่วโลก คื อ สายพันธุ์ที่ 1 ส่วนสายพันธุ์ที่รักษาได้ยา กที่สุดในปัจจุบันคือ สายพันธุ์ที่ 3 ติดต่อได้หลายช่องทาง ทั้งจากการรับเลือดที่ไม่มี ประวัติคัดกรอง จากการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน จากแม่สู่ลูก ทางเพศสัมพันธ์ เป็นต้น ไวรัสตับอักเสบซีชนิดนี้ส่ว นมากมักเป็นแบบเรื้อรัง ผู้ป่วยจะทราบว่าตัวเองติด เชื้อไวรัสตับอักเสบซีก็ต่อ เมื่อ บังเอิญตรวจสุขภาพ ประจ ำปีแล้วพบเชื้อ หรือร่างกายเริ่มแสดงอาการแ ทรกซ้อน เช่น ตัวเหลือง ตาเหลือง ปวดท้องด้านขวา ตับแข็ง อาเจียนเป็นเลือด ท้องมาน หรือเป็นมะเร็งตับแล้ว หากมีข้อสงสัยควรพบแพทย์ทัน ที "แม้ไวรัสตับอักเสบซีจะยังไ ม่มีวัคซีนสำหรับป้องกัน แต่ มียารักษาให้หายขาดแล้ว " สำหรับใครที่เคยรักษา ไวรัสต ับอักเสบซีหายขาด เป็นที่เรี ยบร้อยแล้ว คือ ตรวจหาไม่เจอ เชื้อไวรัสตับอักเสบซี รวมทั้งค่าตับ กลับมาเป็นปกต ิแล้วนั้น แต่ยังสงสัยอยู่ว่า เลือดของ คุณยังคงแสดงผลบวกของค่าไวร ัสตับอักเสบซีอยู่ และเกรงว่าจะทำให้แฟน หรือลู กติดเชื้อตามค

ตับทำหน้าที่อะไร ?

รูปภาพ
ตับทำหน้าที่สะสมอาหารต่างๆ  เอาไว้ใช้เมื่อร่างกายต้องก าร เช่น เก็บน้ำตาลกลูโคส ในรูปของ ไก ลโคเจน สะสมไว้ในตับ เมื่อร่างกายต้องการพลังงาน ก็จะเปลี่ยนไกลโคเจนกลับมาเ ป็นกลูโคส ส่งไปที่ต่างๆ ของร่างกายเพื่อเอาไปใช้เป็ นพลังงานต่อไป ผู้ป่วยที่ตับอักเสบขั้นรุน แรงจะมี น้ำตาลในเลือดต่ำ เลย เป็นที่มาของคำพูดที่ว่า เป็นโรคตับให้ทานน้ำหวาน ซึ่งที่จริงแล้วจะต้องทานต่ อเมื่อตับเสียไปมากๆ ตอนระยะท้ายๆ ของโรคตับ ฉะนั้น อย่ าไปทานน้ำหวาน กันโดยไม่จำเป ็น ตับทำหน้าที่ ขับถ่ายของเสีย ในรูปของน้ำดี ออกมาทางท่อน้ำดี แล้วลงไปออกที่ลำไส้เล็กส่ว นต้น น้ำดีนอกจากจะเป็นของเสียที ่ร่างกายขับออกมาแล้ว ยังมีน้ำที่เป็นของดีปนอยู่ ด้วย ที่ว่ามีของดีปนออกมาก็เพรา ะว่าน้ำดีนั้นใช้ช่วยในการย ่อยอาหารประเภทไขมัน ช่วยในการดูดซึมวิตามินที่ต ้องใช้ไขมันร่วมด้วย คือ วิตามิน เอ ดี อี และ เค คนที่ท่อน้ำดีอุดตันก็จะมีต าเหลือง ตัวเหลือง คันเพราะของเสียขับออกมาไม่ ได้ นานๆ เข้าอุจจาระจะสีซีด ท้องเสียเวลาทานของมัน ขาด วิตามิน ที่เห็นชัดเห็นผล เร็วก็คือ การขาดวิตามินเค (K) เลือดจะแข็งตัวไม่ดี เลือดออกแล้วไหลไม่ห

ไวรัสตับอักเสบซีแบบเรื้อรัง

รูปภาพ
ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเ สบซีแบบเรื้อรังเป็นเวลานาน ๆ เซลล์ตับจะค่อยๆ ถูกทำลายอย่างต่อเนื่องอย่า งช้าๆ เมื่อ เซลล์ตับถูกทำลาย จะมีก ารสร้างเซลล์ตับขึ้นมาใหม่ท ดแทนเซลล์ส่วนที่ตายไป เมื่อตรวจเลือดจะพบว่ามีระด ับเอนไซม์ของตับหรือค่า ALT สูงกว่าปกติขึ้นๆ ลงๆ เป็นระยะ ซึ่งบางครั้ง ระดับเอนไซม์ขอ งตับ อาจอยู่ในเกณฑ์ปกติ แม้ว่าจะมีการอักเสบของตับแ ต่ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักไม่ค่อ ยมีอาการหรืออาการแสดงให้เห ็นที่ชัดเจน ย กเว้นในผู้ป่วยบางคน ที่มีอา การอ่อนเพลียกว่าปกติดังนั้ นผู้ป่วยส่วนใหญ่จึงไม่ค่อย ตัวรู้ว่า กำลังเป็น โรคตับอั กเสบแบบเรื้อรัง ผู้ที่ติดเช ื้อแบบเรื้อรังหลายๆ ปี เช่น 10-20 ปีขึ้นไป จะมีการทำลายเซลล์ตับอย่างต ่อเนื่องและมีการซ่อมสร้างเ ซลล์ตับขึ้นมาใหม่เรื่อยๆ ซึ่งถ้ามีการอักเสบเป็นเวลา นาน เซลล์ตับที่สร้างทดแทนขึ้นม าใหม่จะไม่สมบูรณ์เหมือนเซล ล์ปกติ ในกรณีที่มี การทำลายเ ซลล์ตับ มากกว่าการซ่อมสร้าง จะทำให้มีพังผืดในตับมากขึ้ นเรื่อยๆ พังผืดในตับนี้คล้ายกับการเ กิดแผลเป็นที่ผิวหนัง เวลาถู กมีดบาดหรือเวลามีการอักเสบ พังผืดในตับที่เกิดขึ้น จำนว นมากหรือแผลเป็นแบบเรื้อรั

โรคไขมันสะสมในตับ

รูปภาพ
      ปัญหา โรคไขมันสะสมในตับ หรือ Non-alcoholic Fatty Liver Disease (NAFLD) จัดเป็นโรคที่พบได้บ่อยในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยด้วยเช่นกัน และมีความสัมพันธ์กับความชุกของโรคอ้วน แพทย์จะวินิจฉัยได้โดยการตรวจพบว่าผู้ป่วย มีค่าการทำงานผิดปกติ มีภาพทางรังสีวินิจฉัย ยืนยันผล ส่วนมากมักใช้วิธีตรวจอัลตราซาวนด์ ที่พบว่า เนื้อตับมีสีขาว มากขึ้น เมื่อเทียบกับเนื้อไต (Increased Echogenicity)          นอกจากนี้จำเป็นต้องตรวจแยกสาเหตุอื่นๆ ได้แก่ สาเหตุจากการดื่มแอลกอฮอล์ที่เกินขนาด สาเหตุจากยา โรคภูมิคุ้มกันของตัวเองต่อตับ และ สาเหตุจากไวรัสตับอักเสบ ในผู้ป่วยบางรายแพทย์อาจจำเป็น ต้องใช้ผลการตรวจชิ้นเนื้อตับโดยการเจาะตับเพื่อวินิจฉัย โดยพบว่ามีไขมันอย่างน้อย 5 เปอร์เซ็นต์ของเซลล์ตับ โดยการเจาะตับ ถือเป็นหลักมาตรฐานการวินิจฉัยโรค เพราะสามารถประเมินความรุนแรงของโรคได้ แต่ผู้ป่วยมัก กลัวผลข้างเคียง และอันตรายของการเจาะตับ         โดยทั่วไปแพทย์จะแบ่งผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มผู้ป่วยที่มีแต่ ไขมันสะสมในตับ โดยไม่พบการอักเสบในเนื้อตับ (เรียกว่า Fatty Liver หรือ Steatosis) และ

ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีกับอาหารที่ควรเลี่ยง

รูปภาพ
อาหารที่คนเป็นโรคไวรัสตับอักเสบซี ที่มี ภาวะไขมันพอกตับ ร่วมด้วย ควรเลี่ยงได้แก่ อาหารไขมันสูง      อย่างเช่น นม เนย กะทิ ชีส อาหารทะเล ไข่แดง ซึ่งมีแคลอรี่สูงมาก รวมไปถึงอาหารทอด เบเกอรี่ เนื้อสัตว์ติดมัน เครื่องในสัตว์ อาหารแปรรูปที่มีส่วนประกอบของไขมันสัตว์ เช่น ไส้กรอก กุนเชียง อาหารอะไรก็ตาม ที่มีไขมันสูง ทุกชนิดควรหลีกเลี่ยง เครื่องดื่มแอลกอฮอล์      การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ จะเพิ่มภาระให้ตับทำงานหนักมากขึ้น และแอลกอฮอล์ยังอาจเหนี่ยวนำ การเกิด ภาวะตับอักเสบ ตับแข็ง และโรคตับอื่นๆ เข้าได้ง่ายขึ้นอีกด้วย ลดคาร์โบไฮเดรต      อาหารประเภทแป้ง ข้าว หากร่างกายได้รับมาก ๆ และไม่ได้นำออกไปใช้เป็นพลังงาน ร่างกายจะเปลี่ยนน้ำตาลสะสมเหล่านี้เป็นไตรกลีเซอไรด์ เสี่ยงต่อ ภาวะไขมันพอกตับ มากขึ้น โดยเฉพาะในมื้อเย็นควรทานอาหารประเภทแป้งให้น้อยลง น้ำอัดลม น้ำหวาน ชาเย็น กาแฟเย็น      น้ำอัดลม น้ำหวาน น้ำผลไม้ปั่น รวมทั้งชาเย็น กาแฟเย็นที่มีส่วนผสมของนมข้นหวาน ครีม เป็นเครื่องดื่มที่มีปริมาณน้ำตาลสูง หากกินมาก ๆ และไม่ได้ออกกำลังกาย ก็เสี่ยงต่อภาวะ