บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กันยายน, 2017

ไวรัสตับอักเสบซีระยะเฉียบพลัน

รูปภาพ
ไวรัสตับอักเสบซีระยะเฉียบพลัน มีอาการดังต่อไปนี้ ✅ มีไข้หรืออุณหภูมิในร่างกายสูงถึง 38 องศาฯ หรือมากกว่า ✅ รู้สึกอ่อนเพลีย ไม่สบาย ✅ ไม่อยากอาหาร หรือเบื่ออาหาร ✅ ปวดช่องท้อง ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีในบ างรายอาจมีอาการตัวเหลืองแล ะตาเหลือง มีผู้ป่วยเพียงส่วนน้อย ที่จะมีอาการแสดงให้เห็นในช ่วงระยะ 6 เดือนแรก ที่ได้รับการติดเชื ้อไวรัสตับอักเสบซี แต่ในผู้ป่วยที่มีการแสดงอาการนั้นๆ ก็จะเกิดขึ้นเพียงไม่กี่สัป ดาห์หลังการติดเชื้อ นอกจากนั้น ในผู้ป่วยบางราย สามารถหายได้เองโดยระบบภูมิ คุ้มกันในร่างกาย สามารถฆ่าเ ชื้อไวรัสได้เองในระยะเวลาไ ม่กี่เดือน  และผู้ป่วยจะไม่มีอาการแสดง เพิ่มเติม นอกจากจะได้รับการติดเชื้ออ ีกครั้ง  ในผู้ป่วยที่ยังมีเชื้อไวรั สตับอักเสบซีหลงเหลืออยู่ใน ร่างกายเป็นเวลาหลายปี  จะพัฒนาเกิดเป็นไวรัสตับอัก เสบซีแบบเรื้อรังได้ค่ะ สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
ผลการตรวจหาเชื้อไวรัสที่คลาดเคลื่อน มีให้เห็นอยู่ไม่บ่อยนักนะคะ  ในการตรวจโรคไวรัสตับอักเสบซี จะมีการตรวจหลักๆ 2 แบบ ▶️ แบบแรก คือ การตรวจหาหลักฐานว่า มีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีหรือไม่ โดยดูจากปฏิกิริยาการตอบสนองของร่างกายในการสร้างภูมิคุ้มกันต่อเชื้อ หรือ Anti HCV ค่ะ  ▶️ แบบที่ 2 คือการตรวจเชื้อหรือส่วนประกอบของเชื้อโดยตรงหรือที่เรียกว่า HCV RNA  แล้วเราจะทราบได้อย่างไรว่าผลมีการคลาดเคลื่อน ว่าเราติด หรือไม่ติดเชื้อ ขอตอบว่า ในขั้นตอนของการตรวจจากสถานที่ที่ได้มาตรฐานนั้น จะมีการตรวจยืนยันเสมอ ทางแล็บอาจใช้เทคนิคการตรวจที่แตกต่างกันไป 1-2 ครั้ง  เพื่อความแน่นอนในผลตรวจค่ะ บางครั้งอาจพบว่าบางคนมี Anti HCV เป็นบวก  แต่เมื่อตรวจ HCV RNA ซึ่งเป็นการยืนยันที่แท้จริงผลเป็นลบก็ยังมี  ถือว่าไม่ได้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีนะคะ เพราะฉะนั้นขอให้ ไปตรวจในสถานพยาบาลที่น่าเชื่อถือจะดีที่สุดค่ะ สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
เรื่องที่มักเข้าใจผิดเกี่ยวกับไวรัสตับอักเสบซี - ไวรัสตับอักเสบซีไม่มียารักษา ? ไวรัสตับอักเสบซีในปัจจุบันมียารักษาได้หลากหลายชนิดนะคะ ทั้งยาฉีดและยากิน ซึ่งอยู่ในการพิจารณาจากแพทย์และความเหมาะสม ระยะเวลาในการรักษาของแต่ละคนก็ไม่เท่ากันค่ะ แต่ก็มีโอกาสหายขาดได้นั่นเอง - ทานยาไวรัสตับอักเสบซี ไม่ต้องทานทุกวัน หยุดบ้าง ก็ไม่เป็นไร ? การทานยาไวรัสตับอักเสบซีต้องทานอย่างสม่ำเสมอนะคะ ไม่ว่าจะชนิดไหนอย่างไร จะช่วยให้ไวรัสไม่แบ่งตัว หากหยุดยาไม่ทานตามแพทย์สั่งอาจทำให้อาการกำเริบและนำไปสู่โรคตับแข็งหรือมะเร็งตับ ได้ในเวลาต่อมาค่ะ Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบาล ของบ้านเ ราที่เรารู้จัก ยาทั้งสองตัวนี้ คือ HepCDac กับ HepCvir  ทานวันละเม็ด เหมือนกัน สามเดือน 'Hepcvir-L' ผลิต โดย Cipla HEPCVIR-L เป็น ชุด ยา FDC sofosbuvir  และ ของ ledipasvir ซึ่งเป็นยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสตับอักเสบซี (HCV) โดยตรง ตัวนี้ทานสามเดือนเช่นกัน ยาชื่อ HepCvel : Sofosbuvir+ Velpatasvir ยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ยาตัวนี้เป็นตัวล่าสุดของ Cipla sofosbuvir 400+ Velpatavir 100

หน้าที่ของตับ

รูปภาพ
ตับเป็นอวัยวะสำคัญอวัยวะหน ึ่งที่มีหน้าที่หลายอย่าง หน้าที่ของตับเปรียบเหมือนโ รงงานขนาดใหญ่ ที่คอยจัดการก ับสารอาหารต่าง ๆ เมื่อเรารับประทานอาหารเข้า ไป ตับจะสลาย และสร้างสารตัวใหม ่ที่จำเป็นต่อการทำงานของร่ างกายขึ้นมา และในขณะเดียวกันสารต่าง ๆ ที่ร่างกายใช้แล้ว จะกลับมาเ ผาผลาญที่ตับเพื่อจับเป็นขอ งเสียออกจากร่างกาย นอกจากนี้ตับยังทำหน้าที่เพ ื่อดูแลสุขภาพของเราอีกหลาย อย่าง เช่น ช่วยขจัดสารพิษหรือเชื้อโรค อ อกจากเลือด  ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันบางอย่ างขึ้นมาเพื่อต่อสู้กับเชื้ อโรค ช่วยสร้างโปรตีนที่เป็นส่วน ประกอบในการทำให้เลือดแข็งต ัว ช่วยสร้างน้ำดีซึ่งมีหน้าที ่ช่วยการดูดซึมไขมัน และวิตา มินชนิดละลายในน้ำมันให้กับ ร่างกาย  และเป็นแหล่งสะสมน้ำตาลให้ร ่างกายเพื่อนำไปใช้เมื่อน้ำ ตาลในเลือดต่ำ  ซึ่งเมื่อเกิดโรคตับแข็งขึ้ น การทำงานของตับ จะลดลงจนก่อใ ห้เกิดอาการต่าง ๆ ขึ้นตามมา สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

ผลข้างเคียงของยารักษาไวรัสตับอักเสบซีแบบฉีด

รูปภาพ
การรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซี ในประเทศไทยนั้น ที่ผ่านยาฉีด Interferon, pegylated interferon สัปดาห์ละ 1 เข็มนั้น มีผลข้างเคียงค่อนข้างมาก เนื่องจากตัวยา จะส่งผลให้ร่างกายเกิดการอ่อนเพลีย มีไข้ คลื่นไส้ ผมร่วง ในบางรายถึงขั้นเป็นโรคซึมเศร้า ตามมา เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดลดต่ำลง แต่ผลที่ได้ไม่ใช่ทุกคนที่จะเป็นนะคะ ปัจจุบันมียาทานสำหรับรักษาที่มีผลข้างเคียงน้อยกว่ามาก พบเพียงต้องเฝ้าตรวจเช็คเลือดบ่อยๆ เท่านั้นค่ะ เพราะยาตัวนี้มันช่วยระงับไวรัสตับอักเสบซี ไม่ให้แบ่งตัวนั่นเองค่ะ สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

การตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
หลายคนยังลังเลในการไปตรวจห า เชื้อไวรัสตับอักเสบซี  เนื่องจากกลัวค่าใช้จ่ายสูง  💰  ความจริง ราคาการตรวจหาเชื้อไวรัสตับ อักเสบซี ไม่ได้มีราคาแพงอย่างที่คิด เลยนะคะ  อยู่เพียงหลักร้อยเท่านั้น (ทั้งนี้ไม่รวมค่าใช้จ่ายแล ะค่าบริการอื่นๆ ของแต่ละสถานพยาบาล) หากไม่รีบไปตรวจ และรีบรักษาเสียแต่เนิ่นๆ อาจต้องเสียค่ารักษาในระยะห ลังที่แพงมากๆ แทน เพราะยังมีผู้ป่วยจำนวนมากท ี่ไม่รู้ว่าตนเองติดเชื้อไว รัสตับอักเสบซี ไปตรวจที่รพ.หรือคลินิกเฉพา ะทางใกล้บ้านก็ได้ค่ะ นอกจากนี้ยังควรหมั่นตรวจสุ ขภาพประจำปี และหาทางป้องกันไม่ให้เกิดโ รคไวรัสตับอักเสบซีค่ะ Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบาล ของบ้านเ ราที่เรารู้จัก ยาทั้งสองตัวนี้ คือ HepCDac กับ HepCvir  ทานวันละเม็ด เหมือนกัน สามเดือน 'Hepcvir-L' ผลิต โดย Cipla HEPCVIR-L เป็น ชุด ยา FDC sofosbuvir  และ ของ ledipasvir ซึ่งเป็นยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสตับอักเสบซี (HCV) โดยตรง ตัวนี้ทานสามเดือนเช่นกัน ยาชื่อ HepCvel : Sofosbuvir+ Velpatasvir ยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ยาตัวนี้เป็นตัวล่าสุดของ Cipla sofosbuvir 400+ Ve

การรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
การรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซี ในประเทศไทยนั้น ที่ผ่านยาฉีด Interferon, pegylated interferon สัปดาห์ละ 1 เข็มนั้น มีผลข้างเคียงค่อนข้างมาก เนื่องจากตัวยา จะส่งผลให้ร่างกายเกิดการอ่อนเพลีย มีไข้ คลื่นไส้ ผมร่วง ในบางรายถึงขั้นเป็นโรคซึมเศร้า ตามมา เม็ดเลือดขาวและเกล็ดเลือดลดต่ำลง แต่ผลที่ได้ไม่ใช่ทุกคนที่จะเป็นนะคะ ปัจจุบันมียาทานสำหรับรักษาที่มีผลข้างเคียงน้อยกว่ามาก พบเพียงต้องเฝ้าตรวจเช็คเลือดบ่อยๆ เท่านั้นค่ะ เพราะยาตัวนี้มันช่วยระงับไวรัสตับอักเสบซี ไม่ให้แบ่งตัวนั่นเองค่ะ หลายคนยังลังเลในการไปตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี เนื่องจากกลัวค่าใช้จ่ายสูง💰ความจริง ราคาการตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี ไม่ได้มีราคาแพงอย่างที่คิดเลยนะคะ 🙂 อยู่เพียงหลักร้อยเท่านั้น (ทั้งนี้ไม่รวมค่าใช้จ่ายและค่าบริการอื่นๆ ของแต่ละสถานพยาบาล) หากไม่รีบไปตรวจ และรีบรักษาเสียแต่เนิ่นๆ อาจต้องเสียค่ารักษาในระยะหลังที่แพงมากๆ แทน เพราะยังมีผู้ป่วยจำนวนมากที่ไม่รู้ว่าตนเองติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี ไปตรวจที่รพ.หรือคลินิกเฉพาะทางใกล้บ้านก็ได้ค่ะ นอกจากนี้ยังควรหมั่นตรวจสุขภาพประจำปี และหาทางป้องกันไม่ให้เกิดโ

ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีแบบติดเชื้อเฉียบพลัน

รูปภาพ
เมื่อติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบซี  แล้วจะมีอาการอย่างไร? ผู้ป่วยที่ติดเชื้อแบบฉับพล ัน (acute infection) ส่วนมากจะไม่แสดงอาการอะไรอ อกมานะคะ ทำให้ผู้ป่วยไม่ทราบว่าได้ร ับเชื้อเข้าไปในร่างกายแล้ว  แต่ในผู้ป่วยบางคนอาจพบอากา รไข้คล้ายเป็นโรค ไข้หวัดใหญ่  อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร ตัวเหลือง ตาเหลือง เป็นต้น โดย 15% ของผู้ติดเชื้อจะสามารถหายไ ด้เองค่ะ โดยเฉพาะในเด็กที่อายุน้อยก ว่า 18 ปี จะมีการโอกาสพัฒนาของโรคน้อ ย และร่างกายสามารถกำจัดเชื้อ ได้เอง แต่ 85% ของผู้ป่วยจะกลายเป็นการติด เชื้อเรื้อรัง (chronic infection) ซึ่ง 20% ของผู้ป่วยจะมีการอักเสบของ ตับ ซึ่งการดำเนินอาการของโรคค่ อยๆ รุนแรงขึ้น และภายในเวลา 10-30 ปี จะเกิดเป็นโรคตับแข็ง หรือมะเร็งตับ ทำให้ต้องเปลี่ยนถ่ายตับ และบางรายอาจเสียชีวิตได้เล ยนะคะ  โดยผู้ป่วยภูมิต้านทานต่ำจา กการติดเชื้อไวรัสเอชไอวี ผู้ที่มีการติดเชื้อไวรัสตั บอักเสบบี ผู้ติดเหล้า และผู้สูงอายุ จะมีความเสี่ยงที่โรคจะเกิด ความรุนแรงเพิ่มขึ้นอีก จะเห็นว่าไวรัสตับอักเสบซีเ หมือนเป็นภัยเงียบ เพราะกว่าผู้ป่วยจะรู้ตัวว่ าติดเชื้อก็เมื่อมีการดำเนิ นของโรครุนแรงที่แล

ไวรัสตับอักเสบซีรักษาอย่างไร

รูปภาพ
เมื่อติดเชื้อไวรัสตับอักเส บซีแล้วจะรักษาอย่างไร เป้าหมายการรักษาในปัจจุบัน  คือ การกำจัดเชื้อให้หายขาดอย่า งถาวร โดยประเมินจากจำนวนเชื้อ ไวร ัสตับอักเสบซี ในเลือดหลังการรักษาด้วยย า การทำให้พยาธิสภาพของตับดีข ึ้น ทำให้ตับอักเสบหายไป ป้องกันตับแข็งและมะเร็งตับ ยามาตรฐานที่มีในประเทศไทยใ นปัจจุบันได้แก่ ➡️ Pegylated interferon alfa-2a และ alfa-2b ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง ➡️ Ribavirin รับประทาน ขนาด 800-1200 มิลลิกรัม/วัน ➡️ Boceprevir รับประทาน ขนาด 800 มิลลิกรัม/วัน วันละ 3 ครั้ง ➡️ Sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ➡️ Daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ➡️ Ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เนื่องจากเชื้อไวรัสเกิดการ ดื้อยาได้ง่าย การใช้ยารักษาต้องใช้ยาหลาย ชนิดที่มีกลไกการออกฤทธิ์ใน การฆ่าเชื้อไวรัสในแตกต่างก ันร่วมกัน ซึ่งการติด เชื้อไวรัสตับอัก เสบซี แต่ละสายพันธุ์จะมีสูต รยาที่ใช้รักษาและเวลาการรั กษาแตกต่างกันด้วย โดยทั่วไปใช้เวลารักษานาน 12-48 เดือน แต่ในระหว่างการรักษา แพทย์จะประเมินผลการรักษาเป ็นระยะ เพื่อปรับแผนการรักษา

หากลืมทานยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ควรทำอย่างไร?

รูปภาพ
ปกติแล้วยารักษาโรคไวรัสตับ อักเสบซีนั้น ผู้ป่วยจะต้องทานให้ตรงเวลา อย่างเคร่งครัดนะคะ ซึ่งจะทานพร้อมอาหารหรือตอน ปกติก็ได้ค่ะ เพียงแต่ต้องให้ตรงเวลาทุกว ัน เพื่อให้ระดับยาในการรักษาภ ายในร่างกายคงที่ และสามารถยับยั้งการเจริญเต ิบโตของเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซีได้อย่างมีประสิทธิภาพ  หากลืมทานยาจริงๆ แล้วล่ะก็แนะนำให้ทานทันทีท ี่นึกขึ้นได้เลยนะคะ แต่หากลืมจนใกล้เวลาทานยาขอ งรอบถัดไป ก็ให้รอทานเม็ดนั้นไปเลยค่ะ  ไม่จำเป็นต้องเพิ่มขนาดยา ทั้งนี้ก็ไม่ควรลืมบ่อย เพราะอาจจะก่อให้เกิดอาการด ื้อยาได้ แนะนำให้ตั้งนาฬิกาปลุกไว้ก ่อนล่วงหน้าทุกวัน หลายๆ ครั้งค่ะ Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบาล ของบ้านเ ราที่เรารู้จัก ยาทั้งสองตัวนี้ คือ HepCDac กับ HepCvir  ทานวันละเม็ด เหมือนกัน สามเดือน 'Hepcvir-L' ผลิต โดย Cipla HEPCVIR-L เป็น ชุด ยา FDC sofosbuvir  และ ของ ledipasvir ซึ่งเป็นยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสตับอักเสบซี (HCV) โดยตรง ตัวนี้ทานสามเดือนเช่นกัน ยาชื่อ HepCvel : Sofosbuvir+ Velpatasvir ยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ยาตัวนี้เป็นตัวล่าสุดของ Cipla sofos