บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2017

Sofosbuvir คือยาอะไร

รูปภาพ
Sofosbuvir เป็นยาในกลุ่ม direct-acting pyrimidine nucleotide analog ได้รับการอนุมัติจาก US Food and Drug Administration สำหรับการรักษาโรคไวรัสตับอ ักเสบซีในประเทศสหรัฐอเมริก า เมื่อปลายปี ค.ศ. 2013 และเพิ่งได้รับการขึ้นทะเบี ยนเป็นยาในกลุ่มยาควบคุมพิเ ศษ โดยคณะกรรมการอาหารและยา ในประเทศไทย เมื่อปลายปี ค.ศ. 2015 ที่ผ่านมา sofosbuvir เป็น prodrug ที่ต้องผ่านกระบวนการ metabolism  เพื่อเปลี่ยนให้อยู่ในรูป uridine analog triphosphate ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์ทำหน้าท ี่ยับยั้ง NS5B RNA-dependent RNA polymerase (RdRp) ซึ่งเป็นเอนไซม์ที่ใช้ในการ สร้างสาย RNA ของไวรัส ทำให้การถอดรหัสพันธุกรรมสิ ้นสุดลง ส่งผลให้เกิดการยับยั้งการแ บ่งตัวของไวรัสจากการศึกษาใ นหลอดทดลอง พบว่า sofosbuvir ออกฤทธิ์ครอบคลุมเชื้อไวรัส ตับอักเสบซีทุกสายพันธุ์ โดยไม่ออกฤทธิ์ต้าน (Antagonist effect) เมื่อให้ร่วมกับ interferon หรือ ribavirin Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบาล ของบ้านเ ราที่เรารู้จัก ยาทั้งสองตัวนี้ คือ HepCDac กับ HepCvir  ทานวันละเม็ด เหมือนกัน สามเดือน 'Hepcvir-L' ผลิต โดย Ci

โรคไวรัสตับอักเสบซีเป็นได้อย่างไร

รูปภาพ
บุคคลหนึ่งๆ จะเป็นโรคไวรัสตับอักเสบซีไ ด้อย่างไร ไวรัสตับอักเสบซีจะแพร่เชื้ อโดยการสัมผัสกับเลือดมนุษย ์โดยตรงเป็นอันดับแรกค่ะ เช่น อาจจะได้รับเชื้อไวรัสตับอั กเสบซีหาก - เคยฉีดยาเสพติดเข้าเส้นเลือ ด เพราะเข็มฉีดยาหรืออุปกรณ์ต ่างๆ ที่ใช้ในการเตรียมหรือฉีดยา อาจมีเลือดที่ปนเปื้อนติดอย ู่ - ได้รับเลือดหรือผลิตภัณฑ์จา กเลือด รวมไปถึงอวัยวะในร่างกายจาก ผู้บริจาคที่มีเชื้อไวรัสตั บอักเสบซีอยู่ในเลือดก่อนปี  พ.ศ.  2535 - เคยได้รับการล้างไตเป็นเวลา นาน จากเครื่องมือหรืออุปกรณ์ที ่เชื้อไวรัสตับอักเสบซี - เคยทํางานเป็นบุคลากรทางการ แพทย์ที่มีการสัมผัสกับเลือ ดบ่อยๆ หรือบังเอิญถูกเข็มทิ่ม - มารดาของท่านมีเชื้อไวรัสตั บอักเสบซี ณ เวลาที่ให้กำเนิดเลือดของแม ่อาจเข้าสู่ร่างกายขณะที่ทํ าการคลอด - เคยอยู่กับผู้ที่มีเชื้อไวร ัสตับอักเสบซีและใช้ของใช้ม ีคมร่วมกัน - เคยมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ม ีเชื้อไวรัสตับอักเสบซี - เคยได้รับรอยสักจากสถานที่ท ี่ไม่ได้เปิดเชิงพาณิชย์หรื อไม่ได้อยู่ภายใต้กฎระเบียบ ที่ควบคุม ซึ่งอาจใช้เข็มที่สกปรกไม่ถ ูกหลักอนามัย Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบ

ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง

รูปภาพ
ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื ้อรังที่ควรได้รับการรักษาเ ป็นลำดับแรก ➡️ ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง รวมถึงตับแข็งที่เป็นมากแล้ ว (Decompensated Cirrhosis) ➡️ ผู้ป่วยที่มีพังผืดในเนื้อต ับในระดับมาก (Bridgingfibrosis) ตามระบบ METAVIR เท่ากับ 3 หรือวิธีการตรวจอื่นที่เทีย บเท่า ➡️ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HIV ร่วมด้วย ➡️ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อ HBV ร่วมด้วย ➡️ ผู้ป่วยที่มีข้อบ่งชี้ในการ ปลูกถ่ายตับ ➡️ ผู้ป่วยที่มีการกลับเป็นซ้ำ ของ HCV ภายหลังจากได้รับการปลูกถ่า ยตับ ➡️ ผู้ป่วยที่มีลักษณะทางคลินิ กอื่นๆ นอกตับที่รุนแรง สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

สัญญาณอันตรายจากตับของคุณ

รูปภาพ
สัญญาณอันตรายที่เตือนว่า ตับของคุณเริ่มมีปัญหาแล้วคือ 1. อาการปวดจุก หรือแน่นชายโครงขวา ซึ่งเป็นที่อยู่ของตับ อาจเพราะมีการอักเสบของเนื้อตับ หรือเกิดจากก้อนเนื้องอกภายในเนื้อตับ 2. ดีซ่าน คือ ภาวะที่มีการคั่งของเม็ดสีน้ำดี ซึ่งสร้างมาจากตับ สะสมในเนื้อเยื่อต่างๆ ทำให้ผิวหนังและเยื่อตาขาวเปลี่ยน มีสีเหลือง ซึ่งน้ำดีที่มากเกินในร่างกาย ส่วนหนึ่งจะถูกขับออกทางไต ทำให้ปัสสาวะมีสีเหลืองเข้ม เป็นสัญญาณบ่งว่า สมรรถภาพการทำงานของตับเริ่มถดถอย 3. อ่อนเพลียเรื้อรัง หมดแรงง่าย อาจเกิดจากภาวะตับอักเสบเรื้อรัง ซึ่งควรได้รับการตรวจเลือดยืนยันและหาสาเหตุต่อไป โดยอาจเกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบชนิดต่างๆ การดื่มสุราจนทำให้เกิดโรคตับเรื้อรัง โรคอ้วนจนมีไขมันคั่งในเนื้อตับปริมาณมาก และการรับประทานยา อาหารเสริม หรือสมุนไพรบางชนิด ในผู้ป่วยบางรายอาจมีสารเหล่านี้ตกค้าง จนทำให้เกิดตับอักเสบ ผลิตพลังงาน และสารที่จำเป็นต่อร่างกายได้ลดลง 4. เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซึ่งอาจเป็นสัญญาณบ่งชี้ว่า สมรรถภาพการทำงานของตับเริ่มเสื่อมลง ทำให้ร่างกายต้องดึงพลังงานสำรองจากที่ต่างๆ มาเผาผลาญ น้ำหนักตัวจึงลดลง

กินถูกหลักช่วยสร้างเสริมตับ

รูปภาพ
กินถูกหลัก ช่วยสร้างเสริมตับได้จริงนะ ในภาวะปกติ: ไม่จำเป็นต้องเลือกกินอาหารแบบใดเป็นพิเศษเพื่อบำรุงตับ เพียงแค่กินอาหารให้ครบ 5 หมู่อย่างเหมาะสม และหลีกเลี่ยงอาหารที่มีผลเสียต่อตับ ตามที่ได้กล่าวถึงไว้แล้วเท่านั้น ในกรณีที่มีตับอักเสบ: หรือผู้ป่วยตับแข็งระยะต้น ๆ ควรกินอาหารให้ครบ 5 หมู่อย่างเพียงพอ เพื่อช่วยการซ่อมแซมตับและทำให้การฟื้นตัวดีขึ้น ป้องกันภาวะทุพโภชนาการ ซึ่งจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย ๆ ไม่จำเป็นต้องงดไขมัน ยกเว้น มีอาการท้องอืดหลังกินอาหารมัน ๆ และไม่ต้องกินคาร์โบไฮเดรตเพิ่ม ในขณะที่มีตับอักเสบตามความเชื่อสมัยก่อน เพราะทำให้ผู้ป่วยส่วนหนึ่งมีไขมันชนิดไตรกลีเซอไรด์สูงขึ้นมากได้ ในระยะที่มีตับอักเสบ แพทย์อาจให้ผู้ป่วยกินวิตามินเสริม เพื่อช่วยในการซ่อมแซมตับ แต่ไม่ควรซื้อยาหรือผลิตภัณฑ์เสริมอาหารกินเองในช่วงนี้ เพราะอาจมีผลข้างเคียงต่อการทำงานของตับได้ Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบาล ของบ้านเ ราที่เรารู้จัก ยาทั้งสองตัวนี้ คือ HepCDac กับ HepCvir  ทานวันละเม็ด เหมือนกัน สามเดือน 'Hepcvir-L' ผลิต โดย Cipla HEPCVIR-L เป็น ชุด ย

ไวรัสตับอักเสบซีไม่ดีอย่างไร

รูปภาพ
รู้หรือไม่ ? ไวรัสตับอักเสบซีทำให้เกิดตับอักเสบได้อย่างไร หากเราบังเอิญถูกเข็มตำที่มือโดยมีเชื้อไวรัสตับอักเสบซีอยู่ เชื้อนั้นจะเข้าสู่เลือด และไปเพิ่มจำนวนอย่างมากมายในเซลล์ตับ โดยใช้เวลาฟักตัวประมาณ 2-3 เดือนก่อนที่จะมีผลทำให้ตับอักเสบ อย่างไรก็ตามผู้ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีส่วนใหญ่มักไม่มีอาการป่วยของตับอักเสบให้เห็นชัดเจน จึงไม่ค่อยรู้ตัวว่าติดไวรัสตับอักเสบซี การเกิดตับอักเสบนี้ไม่ได้เกิดจากเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเข้าไปทำลายเซลล์ตับตามความเข้าใจทั่วๆ ไปที่คิดว่าเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเข้าไปทำลายเซลล์ตับโดยตรงแต่เป็นกลไกของภูมิต้านทานของร่างกายของเราที่พยายามกำจัดเชื้อไวรัสให้หมดไป ดังนั้นเมื่อมีการทำลายเชื้อไวรัสตับอักเสบซีที่อาศัยอยู่ในเซลล์ตับ จึงมีการทำลายเซลล์ตับร่วมไปด้วยทำให้มีการอักเสบของตับตามมานั่นเอง ระยะเวลาในการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซีนั้นต้องใช้เวลาและอาจมีผลข้างเคียงในช่วง 1-2 สัปดาห์แรกที่ทานยารักษาไวรัสตับอักเสบซี เมื่อผ่านช่วงนี้ไปร่างกายก็จะปรับตัวได้ดีขึ้น ผู้ใกล้ชิดควรให้กำลังใจเป็นอย่างมาก แนะนำให้อย่าเครียดจนเกินไป และงดการออกกำลังกายหนักหรือทำงา

เตรียมตัวก่อนรักษาไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
หากรู้ตัวว่าเป็นโรคไวรัสตับอักเสบซีอยู่และกำลังเข้าสู่กระบวนการรักษาแนะนำให้ควรเตรียมพร้อมร่างกายให้ดี โดยงดการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์โดยเด็ดขาด เช่น เหล้า เบียร์ ไวน์ เป็นต้น หรือในกรณีที่มีน้ำหนักตัวเกินมาตรฐาน ควรเริ่มออกกำลังกายที่ช่วยให้ไขมันลดลง พยายามรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ลดเค็ม ของหวานหวาน ของมัน ของทอด รวมถึงพักผ่อนให้เพียงพอ ลดความกังวลหรือความเครียดต่างๆ ลงด้วย หรือญาติเองก็ควรให้กำลังใจกันมากๆ หากผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเป็นผู้หญิงควรจะต้องมีการขอคำแนะนำจากแพทย์ในการวางแผนคุมกำเนิดด้วย เพราะอาจจะมีการรับประทานยาคุมหรือฉีดยาคุมกำเนิด ในช่วงก่อนและระหว่างการรักษาโรคไวรัสตับอักเสบซี เพราะตัวยามีผลทำให้ทารกมีความผิดปกติต่างๆ จนอาจทำให้แท้งได้ง่าย หรือเด็กมีความพิการเนื่องจากคลอดก่อนกำหนดได้โดยฝ่ายชายที่เป็นสามี ก็ควรจะต้องทานยาต้านไวรัสและป้องกันด้วยการใช้ถุงยางอนามัยร่วมด้วยทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์กับผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีทุกครั้งและหาความรู้ก่อนการรักษาให้เข้าใจอย่างถี่ถ้วน สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

ก่อนรักษาไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
ก่อนที่เริ่มทำการรักษาผู้ป่วยไวรัส ตับอักเสบซี จะต้องมีการตรวจเลือดเพื่อหาสายพันธุ์และจำนวนเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในเลือด นอกจากนี้ยังต้องดูความพร้อมในการทำงานของตับ ระดับเม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว หรือเกล็ดเลือด รวมไปถึงการทำงานของ ต่อมไทรอยด์ ด้วยว่ามีความปกติหรือไม่ เรื่องจากยาที่ทำการรักษาไวรัสตับอักเสบซีอาจมีฤทธิ์กดการทำงานของไขกระดูกทำให้ระดับเม็ดเลือดต่างๆ ต่ำลงหรือกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ให้เกิดภาวะ ไทรอยด์เป็นพิษ ได้ค่ะ ทั้งนี้แพทย์จะแนะนำให้ตรวจหาเชื้อเอชไอวีด้วยเพราะหากผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีมีเชื้อร่วม จะทำให้การรักษาซับซ้อนมากขึ้น สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

ผลข้างเคียงของยาฉีดรักษาไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
ผลข้างเคียงของการรักษาโรคไ วรัสตับอักเสบซีแบบยาฉีด  มีให้เห็นอยู่บ่อยครั้งในกร ณีที่ผู้ป่วย ไม่มียาทานสำหรับรักษา ดังนี้ - เป็นหวัด คล้ายไข้หวัดใหญ่ ต่อเนื่องหลายวัน - ปวดศีรษะ กล้ามเนื้อ เมื่อยร่างกาย เหนื่อยง่าย - เบื่ออาหาร น้ำหนักลด - รู้สึกคลื่นไส้ วิงเวียน อยากอาเจียนตลอดเวลา - มีผื่นคันขึ้นตามตัวและผิวแ ห้งมาก - ผมร่วงชั่วคราว - อารมณ์หงุดหงิด จากการนอนไม่หลับ ในบางรายเป็นโรคซึมเศร้า Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบาล ของบ้านเ ราที่เรารู้จัก ยาทั้งสองตัวนี้ คือ HepCDac กับ HepCvir  ทานวันละเม็ด เหมือนกัน สามเดือน 'Hepcvir-L' ผลิต โดย Cipla HEPCVIR-L เป็น ชุด ยา FDC sofosbuvir  และ ของ ledipasvir ซึ่งเป็นยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสตับอักเสบซี (HCV) โดยตรง ตัวนี้ทานสามเดือนเช่นกัน ยาชื่อ HepCvel : Sofosbuvir+ Velpatasvir ยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ยาตัวนี้เป็นตัวล่าสุดของ Cipla sofosbuvir 400+ Velpatavir 100 ต้องทานสามเดือนและทุกวันเหมือนกัน สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

ภาวะที่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
➤ตับอักเสบเฉียบพลัน หลังจากไวรัสตับอักเสบซีเข้าสู่ร่างกายแล้ว จะทําให้เกิดการอักเสบของตับแต่ส่วนมากผู้ป่วยจะไม่มีอาการ 25-30% ของผู้ป่วยจะมีอาการตัวเหลือง ตาเหลือง ที่เรียกว่าดีซ่านดังนั้นผู้ป่วยส่วนใหญ่จะไม่รู้ว่าตัวเองเกิดการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีแบบเฉียบพลัน ➤ตับอักเสบเรื้อรัง ผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีมากกว่า 80 % จะเกิดภาวะตับอักเสบเรื้อรัง ซึ่งในระยะแรกผู้ป่วยมักจะไม่มีอาการจนเมื่อตับถูกทําลายไปมากพอควรหรือมีการอักเสบของตับมาก ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลียเบื่ออาหาร ➤ตับแข็ง ผู้ป่วยตับอักเสบเรื้อรังจากไวรัสตับอักเสบซีนั้น ตับจะมีอาการอักเสบและถูกทําลายไปเรื่อยๆ จนในที่สุดจะกลายเป็นตับแข็ง ซึ่งถ้าเป็นมากแล้ว ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลียมาก ดีซ่าน ท้องมาน และเกิดตับวายได้ในที่สุด ➤มะเร็งตับ ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง จะมีโอกาสเกิดมะเร็งตับได้มากกว่าคนปกตินั่นเอง สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซีติดต่อที่นี่ Line id: thaihcv

มะเร็งตับในประเทศไทย

รูปภาพ
เปอร์เซ็นต์ส่วนใหญ่ มะเร็งตับ ในประเทศไทย เกี่ยวข้องกับการติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบซี แบบเรื้อรัง (90% ของมะเร็งตับเกิดจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี) และอีกส่วนเกิดจากการดื่มแอลกอฮอล์ สารพิษ อะฟลาท็อกซินซึ่งปนเปื้อนอยู่ในเมล็ดพืช เช่น ถั่วลิสง ข้าวโพด พริกแห้ง ส่วนสาเหตุของ ICC ในประเทศไทยมีการศึกษาที่ชี้ชัดว่า พยาธิใบไม้ตับร่วมกับ N-Nitrosocompound มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคนี้ด้วย โดยอาการเริ่มแรก จะมีความรู้สึกเบื่ออาหาร แน่นท้อง อ่อนเพลีย ไม่มีเรี่ยวแรง น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ ปวดชายโครงด้านขวา คลำได้ก้อน ตัวเหลือง ตาเหลือง ท้องโต เป็นต้น การติดต่อของโรคไวรัสตับอักเสบซี มักจะพร้อมกับ HIV ร่วมกันด้วย เนื่องจากอัตราการติดต่อ หรือช่องทางในการติดต่อเชื้อไวรัสตับอักเสบซีนั้นเป็นทางเดียวกัน จึงพบว่าผู้ที่ติดเชื้อ HIV มีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีร่วมด้วยคิดเป็นร้อยละ 30 และจะยิ่งมีโอกาสในการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีเพิ่มสูงถึงร้อยละ 90 ในผู้ติดเชื้อ HIV ที่ใช้สารเสพติดประเภทฉีดเข้าสู่ร่างกาย ซึ่งหากไม่ทำการรักษาก็อาจเกิดการลุกลามของโรคเป็นไวรัสตับอักเสบซีชนิดเรื้อรัง ภูมิต้าน