บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กรกฎาคม, 2017

มารู้จักไวรัสตับอักเสบ ซี กันเถอะ

ผศ.นพ.ทวีศักดิ์ แทนวันดี สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร ภ.อายุรศาสตร์  Faculty of  Medicine   Siriraj   Hospital คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล              ไวรัสตับอักเสบ ซี เป็นอาร์เอ็นเอไวรัส ที่เป็นภัยเงียบที่คุกคามสุขภาพของประชากรทั่วโลก โดยคาดว่ามีประชาการราวร้อยละ 1-2  ทั่วโลกติดเชื้อไวรัส ซี โดยที่คนส่วนใหญ่ไม่มีอาการใดๆ เลยจนกว่าจะมีการเสื่อมของตับมากๆ จึงเริ่มมีอาการอ่อนเพลียบ้าง ซึ่งตอนนั้นก็มักเกิด ตับแข็งแล้ว ซึ่งพบว่าประมาณ  20  ปี ราวร้อยละ  20  ของผู้ป่วยจะเกิดภาวะตับแข็งตับแข็ง รวมถึงอาจเกิดมะเร็งตับตามมาได้ประมาณร้อยละ  1-3  ต่อปี สำหรับประเทศไทยก็พบผู้ป่วยร้อยละ  1-2  ของประชากรเช่นกันและจะพบมากขึ้น ในภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ไวรัสตับอักเสบ ซี น่ากลัวจริงหรือ              เชื้อไวรัสชนิดนี้มีขนาดเล็กมาก แม้ว่าจะใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนส่องก็ไม่สามารถมองเห็นได้ มีเพียงวิธีสกัดเอ...

ซื้อยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ที่ไหน

รูปภาพ

Sofosbuvir+ Velpatasvir ขายยารักษาไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
Sofosbuvir+ Velpatasvir  ขายยารักษาไวรัสตับอักเสบซี Line :   thaihcv ยาตัวนี้เป็นตัวล่าสุดของ Cipla sofosbuvir 400+ Velpatavir 100 เป็นตัวนึงที่สามารถรักษาhepC ได้ทุก genotype ทั้งตับดี และตับแข็งครับ

Hepcvir L ยา ไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
Cipla ได้ เปิด ตัว ยา เม็ด ทั่วไป ที่ ใช้ รักษา โรค ไวรัส ตับ อักเสบ ซี ภาย ใต้ ชื่อ แบรนด์ 'Hepcvir-L'  Hepcvir L ผลิต โดย Cipla HEPCVIR-L เป็น ชุด ยา FDC sofosbuvir และ ของ ledipasvir ซึ่ง เป็น ยา ต้าน ไวรัส ที่ มี ฤทธิ์ ต้าน ไวรัส ตับ อักเสบ ซี (HCV) โดยตรง ยา Hepcvir L เป็น ยา ตาม ใบสั่ง แพทย์ และ ควร ใช้ ภาย ใต้ คำ แนะนำ ทางการ แพทย์ ที่ เหมาะสม และ คำ แนะนำ ห้าม ใช้ ยา Hepcvir L ร่วม กับ ผู้ อื่น เนื่องจาก อาจ มี ปัญหา ที่ ไม่ ได้ รับ การ รักษา ด้วย ยา นี้ อย่าง มี ประสิทธิภาพ

ราคา โซฟอสบูเวียร์ (Sofosbuvir) + ดาคลาทาสเวียร์ (daclatasvir)

รูปภาพ
ราคา โซฟอสบูเวียร์ (Sofosbuvir) + ดาคลาทาสเวียร์ (daclatasvir) 57,000 บาท ได้ 6 กระปุก  สำหรับ 3 เดือน- ไม่มีบวกเพิ่ม    Line :  thaihcv

โซฟอสบูเวียร์ (Sofosbuvir) + ดาคลาทาสเวียร์ (daclatasvir)

      ‘โซฟอสบูเวียร์’ ตัวยาสำคัญรักษาไวรัสตับอักเสบซีสูตรใหม่ โซฟอสบูเวียร์ (sofosbuvir)           ชื่อทางการค้าว่า โซวาลดิ (sovaldi) เป็นตัวยาสำคัญในสูตรยารักษาโรคไวรัสตับอักเสบซี ที่เพิ่งพัฒนาและพิสูจน์ถึงประสิทธิผลที่มากกว่ายาสูตรเดิมๆ ในช่วงปี 2-3 ปีที่ผ่านมานี้เอง ซึ่งยานี้มีราคาแพงมาก ในประเทศสหรัฐอเมริกาอยู่ที่เม็ดละประมาณ 30,000 บาท ประเทศไทยเม็ดละประมาณ 1,500 บาท (ปัจจุบันยังไม่มีขาย และกำลังอยู่ในกระบวนการพิจารณาขึ้นทะเบียนยา) บรรจุยาโซฟอสบูเวียร์ในบัญชียาหลัก           เมื่อต้นเดือนพฤษภาคม 2558 องค์การอนามัยโลกได้บรรจุยาโซฟอสบูเวียร์ในบัญชียาหลักขององค์การอนามัยโลก ซึ่งเป็นบัญชียาที่แต่ละประเทศควรมีไว้ นับเป็นการเพิ่มแรงกดดันให้มีการปรับลดราคายาและเพิ่มการเข้าถึงในประเทศที่กำลังพัฒนาและประเทศที่ยากจน ในประเทศไทยเริ่มมีการเคลื่อนไหวของกลุ่มผู้ป่วยเกี่ยวกับราคายาโซฟอสบูเวียร์ที่แพงเกินความเหมาะสม           ไวรัสตับอักเสบซี ก่อนที่จะทำความรู้จักโซฟอสบูเวียร์ มาทำความเข้าใจเกี่...

ผลการเปรียบเทียบยาสูตรต่าง ๆ ในการรักษาไวรัสตับอักเสบซี จีโนไทป์ 1

รูปภาพ

SOFOSBUVIR(400mg)

ในการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ในทั่วโลกเปลี่ยนแปลงไปมาก มาทำความรู้จักกับยาตัวใหม่ คือยา โซฟอสบูเวียร์ (Sofosbuvir) ที่เป็นยาตัวใหม่ใช้ในการรักษาผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ซึ่งมีความครอบคลุมในการ รักษาไวรัสชนิดนี้ในหลายๆสายพันธุ์ เวลารักษาแค่ประมาณ 12-24 อาทิตย์ โดยทานเพียงวันละ 1 เม็ด ใช้รับประทาน ร่วมกับยาตัวอื่นอีก 1 ชนิด เช่น สายพันธุ์ที่ 1 ทานยา Sofosbuvir 400 mg ร่วมกับ Ledipasvir 90 mg ส่วนสายพันธุ์ที่ 3 ทานยา Sofosbuvir 400 mg ร่วมกับ Daclatasvir 60 mg ผู้ป่วยจะมีโอกาสหายสูงมากกว่า การใช้ยาเดิมๆที่กล่าวมา ยาโซฟอสบูเวียร์ เป็นยาที่วางตลาดครั้งแรกในปี พ.ศ. 2556 ในสหรัฐอเมริกาและในเดือนเมษายน พ.ศ. 2558 องค์การอนามัยโลกได้บรรจุยาโซฟอสบูเวียร์เป็นหนึ่งในรายการยาสำคัญขององค์การอนามัย โลกอีกด้วยยาตัวนี้ใน สหรัฐอเมริกามีราคาแพงมาก เม็ดละ 30,000 กว่าบาท (1,000 USD) ในประเทศไทยยังไม่มีจำหน่าย ดังนั้นการรักษา ในปัจจุบันในประเทศไทย หลังรักษาโอกาศที่ยังพบเชื้อยังมีสูง เนื่องจากไม่มียาโซฟอสบูเวียร์(Sofosbuvir) ใช้ในประเทศ ไทย ในประเทศอินเดีย ยาโซฟอสบูเวียร์(Sofosbuvi...

จะทราบได้อย่างไรว่าเราอยู่ในภาวะติดเชื้อไวรัสอักเสบ ซี แบบเรื้อรัง ?

เชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เข้าสู่ร่างกายมีผู้ป่วยร้อยละ 15 เท่านั้น ที่สามารถกำจัด ไวรัสออกไปจากร่างกายได้ส่วนอีกร้อยละ 85 จะเกิดการอักเสบของตับแบบเรื้อรัง ผู้ป่วยมักจะไม่มีอาการอะไรภายใน ระยะเวลา 10 ปี บางราย ถึง 20 ปี ทำให้ผู้รับเชื้อไม่ทราบว่ามีตับอักเสบอยู่ ซึ่งนับว่าอันตรายต่อสุขภาพอย่างมากๆ ขอแนะนำให้คนปกติทั่วๆไปทุกคนควรเจาะเลือดตรวจ 1 ) anti-HCV ถ้าได้ผลลบ แสดงว่าไม่มีการติดเชื้อ ถ้าได้ผลบวก แสดงว่าเคยมีการติดเชื้อไวรัสอักเสบ ซี มาก่อนโดยที่ขณะนี้อาจมีหรือไม่มีไวรัสอยู่ในเลือดก็ได้ ดังนั้นต้องตรวจเพิ่มเติมคือตรวจหา 2 ) HCV RNA ถ้าได้ผลบวก แสดงว่ากำลังมีการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี 3 ) ตรวจการทำงานของตับ เพื่อดูค่าการอักเสบของตับ (AST,ALT) 4 ) ตรวจสายพันธุ์ไวรัสตับอักเสบ ซี (HCV genotype) เพื่อวางแนวทางการรักษาต่อไป

แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง

แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016 การประเมินผู้ป่วยที่ตรวจซีรั่ม anti-HCV ให้ผลบวก  ๐ ตรวจปริมาณ HCV RNA ในเลือดเพื่อยืนยันการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ด้วยวิธีตรวจที่มีความไวสูง สามารถตรวจพบ HCV RNA ได้อย่างน้อย 15 IU/mL  ๐ หากตรวจไม ่พบ HCV RNA ให้ตรวจ HCV RNA ซ้ำอีกครั้งที่ 3-6 เดือน ถัดมา  • ถ้าไม่พบ HCV RNA แสดงว่าเป็นภาวะบวกปลอม (false positive) หรือหายจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซีแล้ว ให้คำแนะนำและไม่ต้อง นัดตรวจติดตาม  • หากตรวจพบ HCV RNA แสดงว่าเป็นการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซีเรื้อรัง ให้ ประเมินดังนี้  - ตรวจเลือดประเมินสภาพและการทำงานของตับ (Liver Function Test; LFT), complete blood count และ coagulogram  - ตรวจ HBsAg, anti-HBc, anti-HIV และ anti-HAV antibodies  - ประเมินความรุนแรงของพังผืดในเนื้อตับด้วยวิธีการที่จะกล่าวต่อไป  - ประเมินโรคร่วมอื่นๆ เพื่อพิจารณาแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย  ...