บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก สิงหาคม, 2017

หนุนไทยทำซีแอลลดคอร์สยารักษาไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
นายเฉลิมศักดิ์ กิตติตระกูล เจ้าหน้าที่ฝ่ายรณรงค์เข้าถ ึงยาจำเป็น มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ แถลงข่าว 10 ปี ซีแอล (CL) และการเข้าถึงยาจำเป็นว่า หลังจากมีการใช้มาตรการสิทธ ิเหนือสิทธิบัตรโดยรัฐบาลขอ งไทย หรือซีแอลมา 10 ปี แม้จะแก้ปัญหาการเข้าถึงยาไ ด้ในระดับหนึ่งกลุ่มรักษาเอ ชไอวี โรคหัวใจ และมะเร็งได้  แต่ไทยกำลังเผชิญปัญหาการเข ้าถึงยาโรคอื่นๆด้วย โดยเฉพาะยารักษ า ไวรัสตับอักเสบซี ที่ชื่อโซฟอสบูเวียร์  โดยพบว่าบริษัทยาต้นแบบยาตั วนี้ มีการผูกขาดยาทางด้านสิทธิบ ัตรอยู่ โดยมีการยื่นขอจดสิทธิบัตรจ ากกรมทรัพย์สินทางปัญญาถึง 13 ฉบับ ทั้งที่เป็นยาตัวเดียว โดยหากผ่านการอนุมัติจะคุ้ม ครองยาวนานถึง 30 ปี ซึ่งเป็นการผูกขาดไปแล้ว โดยยาตัวนี้มีราคาแพงมากการ รักษาต่อคอร์สระยะเวลา 3 เดือน อยู่ที่ 2.5 ล้านบาท ขณะที่ประเทศอินเดีย ผลิตยาชื่อสามัญชนิดเดียวกั น อยู่ที่คอร์สละ 20,000 บาท แต่ก็พบว่าบริษัทต้นแบบในอิ นเดียมีการกีดกันทางการค้า และมีข้อตกลงว่า ห้ามจำหน่ายในประเทศที่กำหน ด ซึ่งรวมถึงประเทศไทยด้วย จึงจำเป็นที่รัฐบาลไทยต้องป ระกาศทำซีแอลยาตัวนี้ สำหรับผู้ป่วยไวรัสตับอักเส บซี  ...

ไวรัสตับอักเสบซี ภัยเงียบ เสี่ยงมะเร็งตับ

รูปภาพ
"สปสช. เผยผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซี เข้าถึงการรักษาแค่ 1 ใน 3 เหตุแสดงอาการช้า เป็นภัยเงียบ เสี่ยง มะเร็งตับ  ถึงขั้นเสียชีวิต กระตุ้นประชาชนตรวจคัดกรอง" แต่ละปีประมาณการว่ามีผู้ป่ วยที่ต้องการ เข้าถึงการรักษาประมาณ 3,000 ราย แต่ปัจจุบันมีผู้ป่วยเข้าถึ งการรักษาเพียง 1 ใน 3 เนื่องจากผู้ป่วยที่ติดเชื้ อ ไวรัสตับอักเสบซี  มักจะแสดงอาการป่วยเมื่อตับ ถูกทำลายไปมากแล้วจึงถือเป็ นภัยเงียบที่คร่าชีวิตของคน ไทยจำ นวนไม่น้อยในแต่ละปี โดยปกติประชาชนมักทราบว่าป่ วย เมื่อเริ่มมีอาการตับอักเสบ หรือเมื่อไปบริจาคโลหิต  ซึ่งความจริงสามารถตรวจคัดก รองได้ก่อน ปัจจุบันกำลังมีการผลักดันใ ห้มีการตรวจเชื้อ ไวรัสตับอักเสบซีในกระบวนกา รคัดกรองสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงบริก ารการรักษาตั้งแต่ระยะเริ่ม ต้นและลดอัตราเสี่ยงของการเ กิดมะเร็งตับในอนาคต ซึ่งจำเป็นต้องให้ความรู้ปร ะชาชนควบคู่กันไปอีกทาง สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ติดต่อ Line id: thaihcv

ยารักษาไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
Cipla ผู้ประกอบการรายหลักๆ ของตลาดยาโรงพยาบาล ของบ้านเ ราที่เรารู้จัก ยาทั้งสองตัวนี้ คือ HepCDac กับ HepCvir  ทานวันละเม็ด เหมือนกัน สามเดือน 'Hepcvir-L' ผลิต โดย Cipla HEPCVIR-L เป็น ชุด ยา FDC sofosbuvir  และ ของ ledipasvir ซึ่งเป็นยาต้านไวรัสที่มีฤทธิ์ต้านไวรัสตับอักเสบซี (HCV) โดยตรง ตัวนี้ทานสามเดือนเช่นกัน ยาชื่อ HepCvel : Sofosbuvir+ Velpatasvir ยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ยาตัวนี้เป็นตัวล่าสุดของ Cipla sofosbuvir 400+ Velpatavir 100 ต้องทานสามเดือนและทุกวันเหมือนกัน

การป้องกันการแพร่เชื้อไวรัสตับอักเสบซีสู่ผู้อื่น

รูปภาพ
หากท่านได้ติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบซี แล้ว ท่านสามารถป้องกันการแพร่เชื้อไปยังผู้อื่นได้ด้วยการ : ➡️ อย่าใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้อื่น ➡️ ระวังอย่าให้ผู้อื่นสัมผัสกับเลือด หรือสารคัดหลั่งในร่างกาย ➡️ หากมีแผลให้ปกปิดบาดแผลให้เรียบร้อย ➡️ อย่าบริจาคเลือดหรือเชื้ออสุจิ (Sperm) ➡️ ล้างมือหรือวัตถุต่างๆ ที่สัมผัสกับเลือดของท่านด้วยน้ำและสบู่ ➡️ อย่าใช้แปรงสีฟัน ใบมีดโกน กรรไกรตัดเล็บ หรือสิ่งต่างๆ ที่อาจมีเลือดท่านติดอยู่ร่วมกับผู้อื่น **เชื้อไวรัสตับอักเสบซีสามารถอยู่รอดนอกร่างกายได้ ในสภาพอุณหภูมิห้องปกติอย่างน้อย 16 ชั่วโมง แต่ไม่เกิน 4 วัน 🚩คนส่วนใหญ่จะไม่มีอาการหลังการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซีในครั้งแรก จนเวลาผ่านไปอาจจะมีอาการดังต่อไปนี้ปรากฏได้ ✅ รู้สึกเหนื่อย ✅ ปวดข้อ ✅ ปวดท้อง ✅ คันตามผิวหนัง ✅ ปวดกล้ามเนื้อ ✅ ปัสสาวะสีเหลืองคล้ำ ✅ ตาและผิวหนังสีเหลือง เป็นดีซ่าน (Jaundice) สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ติดต่อ Line id: thaihcv

ช่องทางในการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
ไวรัสตับอักเสบซีความจริงแล ้วมีหลายชนิดด้วยกันค่ะ โดยแบ่งออกเป็น 6 ชนิด แต่ชนิดที่พบในประเทศไทยนั้ น มีเพียงชนิดที่ 1 และ 3 ในปริมาณที่เท่าๆ กัน โดยที่ผู้ป่วยไวรัสตับอักเส บซี จะต้องทำการตรวจว่า ชนิดที่ตัวเองเป็นนั้นคือชน ิดไหน เพื่อง่ายต่อการรักษาต่อไป เนื่องจากไวรัสตับอักเสบซีแ ต่ละชนิดมีความยากง่าย ในการรักษาแตกต่างกันออกไปค ่ะ ซึ่งแพทย์จะเป็นคนชี้แจงเพิ่ม เติม ไวรัสตับอักเสบซี มีรูปแบบการติดเชื้อทางเลือ ดเป็นส่วนใหญ่นะคะ  มักเกิดกับผู้ที่ได้รับเลือ ดในอดีต นอกจากนี้ยังอาจติดเชื้อได้ ทาง เพศสัมพันธ์ในผู้ป่วยรักร่ว มเพศ (ชายกับชาย) เมื่อมีการติดเชื้อแล้ว จะทำให้เกิดการอักเสบของตับ เรื้อรัง เป็นผลให้เกิดพังผืดในตับมากขึ้น จนเป็นตับแข็งและมะเ ร็งตับได้ ปัจจุบัน การรักษาไวรัสตับอักเสบซี มีความรุดหน้ามาก จนสามารถรักษา ให้หายขาดได้เลยทีเดียวค่ะ  ด้วยการรับประทานยาอย่างน้อ ย 2 ชนิด ซึ่งอาจเป็น แบบรวมในเม็ดเดี ยวกันหรือแบบแยกเม็ดก็ได้ค่ ะ ใช้ระยะเวลาในการรักษาประมา ณ 12 สัปดาห์  ก็สามารถหายขาด จากการติดเชื้อได้มากกว่า 98%  เมื่อเทีย...

การรักษาไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
การรักษาไวรัสตับอักเสบซี มีอยู่ด้วยกัน 2 แบบ ได้แก่  1. การให้ยาฉีด pegylated-interferon alpha ร่วมกับยากิน ribavirin มีระยะเวลาในการรักษาประมาณ ครึ่งปี ถึง 1 ปี มีข้อดีที่ประหยัดกว่า แต่ข้อเสียคือ อัตราการหายขาดต่ำกว่ามากแถ มใช้ระยะเวลานาน ในการรักษาและยาก็มีผลข้างเ คียงมากกว่าเลยทีเดียว 2. ยากินในกลุ่ม Direct acting antiviral drug (DAA)  มีระยะเวลาในการรักษาประมาณ  12 สัปดาห์ (สำหรับผู้ที่ไม่มีตับแข็ง)   24 สัปดาห์ (สำหรับผู้ที่มีตับแข็ง)  มีข้อดีคือ อัตราการหายขาดสูงกว่า แบบแรกและใช้ระยะเวลา ในการร ักษาสั้นกว่า ยามีผลข้างเคียงน้อย  แต่อาจต้องยอมจ่ายตัวยาที่ม ีราคาสูงกว่าเพื่อการหายขาดจากโรค

ไวรัสตับอักเสบซี โรคติดเชื้อที่ทำให้คนเสียชีวิตมากที่สุด

รูปภาพ
โรคไวรัสตับอักเสบถูกจัดอัน ดับให้เป็น 1 ใน 10  โรคติดเชื้อที่ทำให้คนเสียช ีวิตมากที่สุด  และในประเทศไทยพบว่า  มีผู้เป็นไวรัสตับอักเสบบีเ รื้อรังกว่า 3.5 ล้านคน  และไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรั งกว่า 1.5 ล้านคน  ในผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสบ ีหรือซีเรื้อรัง จะเกิดอาการตับอักเสบเรื้อร ัง ซึ่งมีค่าของเอนไซม์ตับ (AST, ALT) สูงกว่าปกติ หรือค่าแกว่งขึ้นลงเป็นระยะ   ในผู้ป่วยที่มีตับอักเสบเรื ้อรัง เซลล์ตับภายในร่างกายจะถูกท ำลายเรื้อรัง  และเกิดผังผืดสะสมมากขึ้นจน มีภาวะตับแข็ง ภายในเวลา 8-20 ปี  จะมีการดำเนินโรคจนเกิดตับว ายได้ร้อยละ 4-6 ต่อปี  ผู้ป่วยที่มีตับแข็งจะมีโอก าสเกิดมะเร็งตับได้ร้อยละ 3-8 ต่อปี  ที่สำคัญมักไม่มีอาการอะไร จนทำให้ผู้ป่วยเข้าใจผิดว่า ตนเองปกติแข็งแรงดี  กว่าจะมีอาการก็มักจะมีภาวะ ตับแข็งมากจนเริ่มมีตับวายเ รื้อรังแล้ว  หรืออาจมีขนาดมะเร็งที่ใหญ่ เกินรักษาให้ได้ผลดีแล้วเช่ นกัน

ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ ไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
รู้หรือไม่  ปัจจุบันยังมีหลายท่านที่เข ้าใจ คลาดเคลื่อน เกี่ยวกับ ไวรัสตับอักเสบซี ไวรัสตับอักเสบซี  ไม่ติดต่อจากการสัมผัส การรับประทานอาหาร และดื่มน้ำร่วมกัน ปัจจุบันมี ยารักษา การติดเชื ้อไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง  ซึ่งสามารถรักษาให้หายขาดได ้ แต่ทั้งนี้ผลตอบสนองของการร ักษาจะขึ้นกับสายพันธุ์ของไ วรัส  และถึงแม้ยังไม่มีวัคซีนสำห รับป้องกันไวรัสตับอักเสบซี   แต่การป้องกันการติดเชื้อเบ ื้องต้นด้วยตนเองเป็นสิ่งสำ คัญที่สุด  โดยให้ความสำคัญกับสุขบัติญ ัติ 10 ประการ เพื่อป้องกันการติดเชื้อ  มีสุขอนามัยที่ดีทั้งกับตนเ องและส่วนรวม หลีกเลี่ยงการสัมผัสเลือดแล ะสารคัดหลั่งของผู้อื่น สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบซี ติดต่อ Lind id: thaihcv 🙂

การดูแลตัวเองเมื่อติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
สำหรับครอบครัวใดที่มีบุตรห ลาน หรือญาติที่ป่วยเป็นโรคไวรั สตับอักเสบซี  ก็มีคำแนะนำสำหรับวิธีการดู แลตัวเองเบื้องต้นดังนี้  1. หยุดรับบริจาคเลือด  2. แยกอุปกรณ์มีคม เช่น มีดโกน กรรไกรตัดเล็บ  แปรงสีฟัน ไม่ใช้ปนกับของคนอื่น  3. งดการใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน 4. การสัก เจาะ ควรใช้อุปกรณ์ที่ได้มาตรฐาน  และห้ามนำไปใช้กับคนอื่น 5. งดการดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอลล์ เพราะการดื่มเพียง 20-30 กรัมต่อวัน (เบียร์ 1 กระป๋อง หรือไวน์ 1 แก้ว) จะเพิ่มความรุนแรงของตับมาก ขึ้น และถ้าดื่มมากกว่า 50 กรัมต่อวัน จะทำให้เกิด ตับแข็ง เร็วขึ้น 6. หลีกเลี่ยงสารพิษอื่นๆ เช่น อาหารเสริม สมุนไพร ที่ไม่ทราบส่วนประกอบหรือผล ข้างเคียงที่มีขายทั่วไป โดยไม่ได้รับการรับรองจากแพ ทย์ เพราะอาจทำให้ ตับอักเสบ ขึ้น  หรือเกิดตับแข็งเร็วขึ้น 7. หลีกเลี่ยงพฤติกรรมสำส่อนทา งเพศ หรือพฤติกรรมทางเพศที่รุนแร ง เปลี่ยนคู่นอนบ่อย 8. ควรมาพบแพทย์ทุก 3-6 เดือน แม้จะไม่มีอาการอะไร หรือมาตามนัดของแพทย์ทุกครั ้ง เพื่อตรวจว่ามีตับอักเสบหรื อไม่ หรือเริ่มเป็นตับแข็งหรือยั ง หรือเพื่อ ตรวจคัดกรองมะเร็ง ...

ไวรัสตับอักเสบเอ ไวรัสตับอักเสบบี และ ไวรัสตับอักเสบซี แตกต่างกันอย่างไร?

รูปภาพ
ไวรัสตับอักเสบ มีอยู่หลายชนิด แต่ที่จะยกมาพูดถึงวันนี้มี 3 ชนิดใหญ่ๆ คือ ไวรัสตับอักเสบเอ ไวรัสตับอักเสบบี และไวรัสตับอักเสบซี ไวรัสตับอักเสบ Type A มักเกิดจากอาหารและจะก่อให้เกิดอาการที่ทำใ ห้ตับอักเสบมาก ตัวเหลือง ตาเหลืองแต่สามารถจะหายเองได้ ไวรัสตับ อักเสบ  Type B มักติดต่อกันทางเลือด ทางเพศสัมพันธ์ ทางแม่สู่ลูก การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน ซึ่งไวรัสบีตัวนี้จะทำให้ตับอ ักเสบเรื้อรัง ไม่หายขาด ใครที่เป็นแล้วจะเป็นพาหะ ส่งเชื้อต่อให้ผู้อื่นได้ มีความเสี่ยงที่จะเป็นตับแข ็ง และนำไปสู่โรคมะเร็งตับได้ถ ้าไม่รักษา ไวรัสตับ อักเสบ  Type C สามารถติดต่อได้ทางการใช้ขอ งมีคมร่วมกัน และการรับเลือดที่มีเชื้อนี้ อยู่ เช่น ใช้เข็มร่วมกัน (เช่นการฝังเข็ม การสัก การตัดเล็บ ทำเล็บ) มีความเรื้อรังสูงมาก มีเพียง 15% เท่านั้นที่สามารถหายเองได้  อีก 85% ของผู้ป่วยจะเป็นชนิดเรื้อร ัง ซึ่งอาการเบื้องต้นคือ อ่อนเพลียลงเรื่อยๆ สนใจยารักษาไวรัสตับอักเสบ ติดต่อได้ที่นี่ Line id: thaihcv

อาการของผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
อาการของผู้ป่วยไวรัสตับอัก เสบซี - ตับแข็ง อาการอ่อนเพลีย ท้องโต ขาบวม ตาเหลือง  ตับจะมีอาการอักเสบและถูกทำ ลายไปเรื่อยๆ จนเกิดอาการตับแข็ง - ตับอักเสบเรื้อรัง ในระยะแรกผู้ป่วยมักจะไม่มี อาการ  แต่จะตรวจพบการทำงานของตับผ ิดปกติได้ในภายหลัง ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร มีโอกาสเกิดเป็นมะเร็งตับ - ตับอักเสบเฉียบพลัน หลังจากไวรัสตับอักเสบซีเข้ าสู่ร่างกายแล้ว จะทำให้เกิดการอักเสบของตับ  มีอาการอ่อนเพลีย คลื่นไส้ ปัสสาวะสีเข้ม จุกแน่นชายโครงด้านขวา - มะเร็งตับ มีอาการท้องโต คลำเจอก้อนที่ชายโครงขวา น้ำหนักลดลง หากพบว่าตัวเองมีอาการเช่นน ี้ ให้รีบพบแพทย์โดยด่วน ไวรัสตับอักเสบซี รู้ก่อน รักษาก่อน หายได้

วิธีป้องกันตัวเองจากโรคไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
" รักตับ ถนอมตับ ทำได้ตั้งแต่วันนี้ " วิธีป้องกันตัวเองจากโรคไวรัสตับอักเสบซีนั้น ควรหลีกเลี่ยง 3 สิ่งง่ายๆ ดังต่อไปนี้ ✅ ทุกครั้งที่มีเพศสัมพันธ์ควรสวมถุงยางอนามัย หรืองดเว้นการเปลี่ยนคู่นอนหลายคน ✅ งดเว้นการใช้เข็มฉีดยาร่วมกับผู้อื่น ✅ หากชอบสักหรือเจาะหู ควรเลือกร้านที่สะอาดได้มาตรฐาน มีการฆ่าเชื้อถูกหลักอนามัย นอกจากนี้แล้วยังควรงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ส่งผลต่อการทำงานของตับด้วย รวมไปถึงการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์และออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพียงเท่านี้ก็สามารถป้องกันตัวเองจากโรคร้ายได้แล้วค่ะ 😄

ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบซี

รูปภาพ
ทุกคนคงคุ้นเคยกับไวรัสตับอักเสบบีมากกว่า แต่ถ้าท่านติดตามโรคตับอักเสบท่านจะพบว่า ไวรัสตับอักเสบซี เพิ่มขึ้นเนื่องจากพบได้บ่อยมากขึ้น พบได้ประมาณ 1-2% ของคนที่มา บริจาคเลือด หลังเป็นตับอักเสบแล้วก็มีแนวโน้มจะเป็น ตับอักเสบเรื้อรัง  20% ของผู้ป่วยตับอักเสบเรื้อรังชนิดซี จะเป็นตับแข็งภายใน 10-20 ปี บางส่วนกลายเป็น มะเร็งตับ ปัจจัยเสี่ยง และการติดต่อไวรัสตับอักเสบซี ไวรัสตับอักเสบซี ติดต่อทางเลือด การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน แต่มีผู้ป่วยบางท่านได้รับเชื้อโดยไม่ทราบแหล่งที่มาปัจจัยเสี่ยงได้แก่ 1. ผู้ที่เคยได้รับเลือด และสารเลือดก่อนปี พ.ศ. 2535 เนื่องจากยังไม่มีการตรวจหาเชื้อไวรัสตับอักเสบซี 2. เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ที่ได้รับอุบัติเหตุถูกเข็มตำ 3. ผู้ป่วยติดยาเสพติดใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน 4. ทารกที่เกิดจากแม่ที่มีเชื้อไวรัสตับอักเสบซี (พบได้ร้อยละ 5) 5. ผู้ที่สำส่อนทางเพศหรือ กลุ่มรักร่วมเพศ (MSM) 6. ได้รับเชื้อจากการสักตามตัวจากร้านที่ไม่ได้มาตรฐานอนามัย กิจกรรมต่อไปนี้ไม่ทำให้เกิดการติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบซี การให้นมบุตร, การจามหรือไอ, ทานอาหารหรือน้ำร่วมกัน, การใช้จ...